สวัสดีชาวโลก – -‘

Welcome to WordPress.com. This is your first post. Edit or delete it and start blogging!

โพสท์ใน ไม่มีหมวดหมู่ | 1 ความเห็น

ประกาศวิชากฎหมายการค้าระหว่างประเทศ ๓/๕๒

ประกาศวิชากฎหมายการค้าระหว่างประเทศ
นบ.๔๓๐๕  ภาค ฤดูร้อน ปีการศึกษา ๒๕๕๒ 

นักศึกษาที่มีรายชื่อต่อไปนี้ติดต่อพบอาจารย์โกญจนาท   เจริญสุขเป็นการด่วน

ลำดับ       รหัสนักศึกษา                          ชื่อ-นามสกุล

๑             ๕๑๑-๐๓-๐๘๖๘                   นางสาวกมลวรรณ  แพทย์หลักฟ้า

            ๕๑๑-๐๓-๐๕๕๗                 นายสุทธินันท์
 ศรีอรรคจันทร์ 

            ๕๑๑-๐๓-๐๕๘๒                  นายอรัญ  ยิ้มแย้ม

             ๕๑๑-๐๓-๐๖๐๘                    นายอนุวัฒน์  ทุนแท่น

             ๕๑๑-๐๓-๐๖๗๖                   นายอภิสิทธิ์  กองทอง

             ๕๑๑-๐๓-๐๘๔๙                   นายถวัลย์  ศรีคราม

             ๕๑๑-๐๓-๐๘๕๗                  นางสาวจันพิมพ์  ปานโรจน์

             ๕๑๑-๐๓-๑๑๔๗                   นาสาวสุดารัตน์  ถาวรนรักษ์

             ๕๑๑-๐๓-๑๑๖๑                    นายอรรถชัย  บรรจงการ

             ๕๑๑-๐๓-๑๒๘๓                  นางสาวปทิตตา  ต่อดำรง

๑๐           ๕๑๑-๐๓-๑๓๕๕                  นายเอกสิทธิ์   อินทร์งาม

๑๑           ๕๑๑-๐๓-๑๓๕๖                   นายสุวัฒน์  จุลประเสริฐศักดิ์

๑๒          ๕๑๑-๐๓-๑๓๕๙                   นางสาวพีระพรรณ  แข็งแรง

๑๓          ๕๑๑-๐๓-๑๓๖๔
                  นายพิชชากานต์  อุ่นเรือน

๑๔          ๕๑๑-๐๓-๑๓๗๓                  นายพงศกร  วิสุทธาภรณ์

๑๕          ๕๑๑-๐๓-๑๓๙๖                   นายวุฒิพงศ์  พูลชนะ

๑๖           ๕๑๑-๐๓-๑๓๙๘                   นางวงศกร  ตันทะระวิสิทธิ์

๑๗          ๕๑๒-๐๓-๐๐๐๑                   นายนุกูล  ภูมณี

โพสท์ใน ประกาศการเรียนการสอน | ใส่ความเห็น

นักศึกษา นบ๑๕๐๑ ภาค ฤดูร้อน/๒๕๕๒ กรุณาพบอาจารย์ด่วน

 

ขอให้นักศึกษาที่มีรายชื่อดังต่อไปนี้
มาติดต่ออาจารย์ผู้สอนเป็นการด่วน


ลำดับ รหัสนักศึกษา ชื่อ – นามสกุล
๑ ๕๒๑-๐๐-๐๐๗๖
นางสาววนาลี บุญอยุ่


๕๒๑-๐๐-๐๒๕๙ นายวิโรจน์ รุณชาติเลิศปัญญา

๓ ๕๒๑-๐๐-๐๒๘๔ นางสาวดวงพร รื่นรมย์
๔ ๕๒๑-๐๐-๐๕๗๕
นางสาวศรีสวรรค์ ทูลฉลอง


๕๒๑-๐๐-๐๗๘๘ นายพิชิต กองรัมย์

๖ ๕๒๑-๐๐-๑๐๑๙ นายสนั่น วงศ์ธนสิน
๗ ๕๒๑-๐๐-๑๑๙๘ นายจักรพันธ์ นสินกร
๘ ๕๒๑-๐๐-๑๒๐๑
นางสาวดารุณา ปราโมทย์


๕๒๑-๐๐-๑๒๐๔ นางสาวอริ พิเศษฤทธิ์

๑๐๕๒๑-๐๐-๑๒๗๐ นางสาวนุชรีย์ อุปถัมภ์

โพสท์ใน ไม่มีหมวดหมู่ | ใส่ความเห็น

ธงคำตอบวิชาการค้าระหว่างประเทศ นบ๔๓๐๕

ธงคำตอบข้อสอบปลายภาค

 

วิชา
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (นบ.๔๓๐๕) กลุ่ม ๑ (๓ หน่วยกิต)              ภาค ฤดูร้อน  ปีการศึกษา ๒๕๕๒ 

ผู้ออกข้อสอบ      อาจารย์โกญจนาท  เจริญสุข

 

ธงคำตอบ ข้อ ๑.  อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
ค.ศ.
1980 มีหลักการที่สำคัญประการหนึ่งคือต้องการให้สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศเกิดขึ้นโดยง่าย
แต่เลิกกันโดยยาก เพื่อเป็นการลดต้นทุนทางการค้าระหว่างประเทศ
อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดความคล่องตัวในการทำสัญญาซื้อขายระหว่างกันด้วย

คำว่า “The Battle of Forms” หรือสงครามแบบฟอร์มนั้นเกิดขึ้นจากสภาพของการค้าระหว่างประเทศที่มีการแสดงเจตนาเสนอ
– สนองผ่านแบบฟอร์มมาตรฐานของคู่สัญญาแต่ละฝ่าย
หากกฎหมายยังคงยึดหลักที่ว่าสัญญาจะเกิดต่อเมื่อมีคำเสนอ – สนองถูกต้องตรงกัน (
Mirror
Image Rule) แล้ว
สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นได้ยากมากเพราะแบบฟอร์มมาตรฐานเหล่านั้นยากที่จะมีข้อความตรงกัน
CISG Article 19 จึงได้บัญญัติแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยกำหนดให้กรณีคำสนองที่มีข้อแก้ไขเพิ่มเติมจากคำเสนอแต่ไม่ได้เป็นข้อสาระสำคัญนั้น
ให้ถือว่าสัญญาเกิดขึ้นโดยมีข้อความตามที่ปรากฏในคำสอง

ส่วนหลัก “Preservation of Contract” หรือหลักการสงวนรักษาไว้ซึ่งสัญญา
เป็นหลักที่กำหนดให้ในการใช้สิทธิเลิกสัญญาจะต้องเป็นกรณีที่เป็นการผิดสัญญาในสาระสำคัญ
(
Fundamental Breach) เท่านั้น (Article 25) นอกจากนี้คู่สัญญาฝ่ายที่ได้รับความเสียหายจากคู่สัญญาอีกฝ่ายที่ผิดสัญญานั้นจะต้องเปิดโอกาสให้คู่สัญญาฝ่ายที่ผิดสัญญามีการเยียวยาความเสียหายก่อนจึงจะใช้สิทธิเลิกสัญญาได้
(
Article 37, 48) ทั้งนี้ CISG เลือกที่จะเปิดโอกาสให้คู่กรณีฝ่ายที่ผิดสัญญาได้มีโอกาสที่จะชำระหนี้ของตนให้ถูกต้อง
แทนที่จะให้มีการเลิกสัญญาอันจะนำมาซึ่งความเสียเปล่าทางเศรษฐกิจโดยรวม

ธงคำตอบ
ข้อ ๒.
 CIF: Cost, Insurance and Freight (named port
of destination
)     หมายถึง
สัญญาซื้อขายที่มีการกำหนดราคาสินค้า โดยรวมค่าระว่างขนส่งสินค้า
และค่าเบี้ยประกันภัยไว้ด้วย สัญญา
CIF เป็นสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศซึ่งเป็นที่นิยมมากที่สุด
ทั้งนี้เพราะผู้ขายสามารถขอรับชำระค่าสินค้าได้ทันทีเมื่อขนส่งสินค้าลงเรือ
และรวบรวมเอกสารต่างๆ ได้ครบถ้วน
ขณะเดียวกันผู้ซื้อเมื่อได้รับเอกสารจากผู้ขายแล้วก็สามารถที่จะขายสินค้านั้นต่อไปได้โดยทันทีเช่นกัน
โดยไม่ต้องรอให้สินค้ามาถึงผู้ซื้อก่อน

 

ผู้ขาย Term CIF

ผู้ซื้อ Term CIF


การจัดหาสินค้า

จัดหาสินค้าให้ตรงตามที่กำหนดไว้ในสัญญาซื้อขาย
พร้อมใบกำกับสินค้า หรือข้อความอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ได้อย่างเดียวกัน
และหลักฐานแสดงถึงความถูกต้องซึ่งอาจกำหนดไว้ในสัญญา


การชำระราคา

    ชำระราคาตามที่ตกลงไว้ในสัญญา


การจัดหาใบอนุญาต การอนุญาตของทางการ และพิธีการต่างๆ

รับภาระค่าใช้จ่าย
และความเสี่ยงภัยเพื่อให้ได้มาซึ่งใบอนุญาตส่งออก การอนุญาตของทางราชการ
และดำเนินการผ่านพิธีการศุลกากรอันอาจต้องกระทำเพื่อส่งออก

๒.
การจัดหาใบอนุญาต การอนุญาตของทางการ และพิธีการต่างๆ

    รับภาระค่าใช้จ่าย
และความเสี่ยงภัยเพื่อให้ได้มาซึ่งใบอนุญาตนำเข้า หรือการอนุญาตของทางราชการ
และดำเนินการผ่านพิธีการศุลกากรอันอาจต้องกระทำเพื่อนำสินค้าเข้า
และการส่งผ่านประเทศต่างๆ


การทำสัญญารับขน และสัญญาประกันภัย

    
ทำสัญญารับขนสินค้าผ่านเส้นทางปกติไปยังท่าเรือปลายทางตามที่กำหนดด้วยเรือเดินทะเลประเภทที่ตามปกติสำหรับการขนส่งสินค้าประเภทที่ระบุไว้ในสัญญาโดยผู้ขายเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย

     จัดให้มีการประกันภัยสินค้าตามที่ตกลงในสัญญา
ซึ่งผู้ซื้อหรือผู้มีส่วนได้เสียในสินค้านั้นสามารถเรียกร้องได้โดยตรงกับผู้รับประกันภัย
และจัดส่งกรมธรรม์ประกันภัย หรือหลักฐานใบรับรองการประกันภัยแก่ผู้ซื้อ
การประกันภัยต้องทำกับผู้รับประกันหรือบริษัทประกันภัยซึ่งมีชื่อเสียงดี 
มีเงื่อนไขการคุ้มครองขั้นต่ำตามเงื่อนไขของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอน
หรือเงื่อนไขใดๆ ในลักษณะเดียวกัน และการประกันนั้นจะต้องคุ้มครองราคาสินค้า
CIF
บวกเพิ่ม ๑๐%
มูลค่าประกันต้องกำหนดเป็นสกุลเดียวกับสัญญา

    เมื่อผู้ซื้อร้องขอ
ผู้ขายต้องจัดหาโดยผู้ซื้อเสียค่าใช้จ่าย
ซึ่งการประกันภัยต่อภัยพิบัติอันเนื่องมาจากสงคราม การประท้วง การจลาจล
การตื่นตระหนกของประชาชน


การทำสัญญารับขน และสัญญาประกันภัย

    ผู้ซื้อไม่มีหน้านี้


การส่งมอบสินค้า

    บรรทุกสินค้าขึ้น ณ
ท่าเรือตามวันหรือภายในระยะเวลาที่กำหนด


การรับมอบสินค้า

   
รับมอบสินค้าเมื่อสินค้าได้ส่งมอบตามที่ระบุไว้ในข้อ ก.๔
และรับสินค้าจากผู้ขนส่ง ณ ท่าเรือปลายทางที่กำหนด

๕.
การโอนความเสี่ยงภาย

          ภายใต้บังคับ ข.๕
รับภาระความเสี่ยงภัยในความสูญหายหรือเสียหายของสินค้าจนกระทั่งสินค้าทั้งหมดนั้นผ่านกราบเรือ
(
Ship’s rail) ณ ท่าเรือที่กำหนด

๕.
การโอนความเสี่ยงภัย

      รับความเสี่ยงภัยในความสูญหาย
หรือเสียหายของสินค้าเมื่อสินค้านั้นได้ผ่านพ้นกราบเรือ  ณ ท่าเรือที่กำหนด หรือ

       นับตั้งแต่วันที่กำหนด  หรือ
วันสิ้นสุดแห่งระยะเวลาที่ตกลงสำหรับการส่งมอบสินค้า
อันเกิดขึ้นเนื่องจากการที่ผู้ซื้อไม่ได้ให้คำบอกกล่าวตามข้อ ข.๗
โดยมีข้อแม้ว่าสินค้านั้นได้มีการกำหนดลงไว้แน่นอนให้เป็นสินค้าตามสัญญา


การรับภาระในค่าใช้จ่าย

    ภายใต้บังคับข้อ ข.๖

    
รับภาระในค่าใช้จ่ายทั้งหมดเกี่ยวกับสินค้าจนกระทั่งส่งมอบสินค้านั้นตามข้อ
ก.๔ และ

      รับภาระค่าระวาง
และค่าใช้จ่ายอันเกิดจากข้อ ก.๓
ในการทำสัญญารับขนรวมถึงค่าใช้จ่ายในการบรรทุกสินค้าลงเรือ และ

      รับภาระในค่าประกันภัยอันเกิดขึ้นจากของ
ก. ๓ และ

      
ค่าใช้จ่ายเพื่อการขนถ่ายสินค้าลงจากเรือ ณ ท่าเรือปลายทาง
ซึ่งกำหนดไว้ให้ผู้ขายตามสัญญารับขน และ

      
รับภาระใช้จ่ายอันอาจถูกเรียกเก็บที่จำเป็นสำหรับพิธีการทางศุลกากรเพื่อส่งออก  รวมทั้งภาษี 
อากร และค่าธรรมเนียมทั้งปวง เพื่อการส่งออก 
และรวมถึงการส่งสินค้าผ่านประเทศอื่นหากกำหนดไว้ให้เป็นผู้ขายตามสัญญารับขน


การรับภาระในค่าใช้จ่าย

    ภายใต้บังคับข้อ ก.๓

   
รับภาระในค่าใช้จ่ายทั้งหมดเกี่ยวกับสินค้านับแต่สินค้านั้นได้ถูกส่งมอบตามที่ระบุไว้ในข้อ
ก.๔ และ

     รับภาระในค่าใช้จ่าย
และค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับสินค้าขณะอยู่ในระหว่างการขนส่งจนกระทั่งถึงท่าเรือปลายทาง
เว้นแต่ค่าใช้จ่าย และค่าธรรมเนียมนั้นได้กำหนดไว้เป็นของผู้ขายตามสัญญารับขน
และ

      
รับภาระค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าขึ้นจากเรือ  รวมถึงค่าเรือลำเลียง ค่าธรรมเนียมท่าเรือ
เว้นแต่ว่าค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมนั้นจะรวมไว้ในบัญชีผู้ขายตามสัญญารับขน และ

       
รับภาระในค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นหากผู้ซื้อไม่ได้บอกกล่าวผู้ขายตามที่ระบุไว้ในข้อ
ข.๗
อันเกิดแก่สินค้านับตั้งแต่วันที่ตกลงหรือวันสิ้นสุดสำหรับระยะเวลาเพื่อการส่งสินค้าโดยมีข้อแม้ว่าสินค้านั้นได้มีการกำหนดไว้แน่นอนให้เป็นสินค้าตามสัญญา

        รับภาระในค่าภาษี  อากร 
และค่าธรรมเนียมทั้งปวง 
รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการผ่านพิธีศุลกากร อันอาจถูกเรียกเก็บเพื่อการนำเข้า  
และหากจำเป็นรวมถึงการส่งสินค้าผ่านประเทศอื่น  เว้นแต่จะได้รวมอยู่ในระวางเรือตามสัญญารับขน


การบอกกล่าวแก่ผู้ซื้อ

   
บอกกล่าวให้ผู้ซื้อในเวลาอันควรว่าสินค้าได้ส่งมอบตามข้อ ก.๔ แล้ว
และบอกกล่าวเรื่องอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อให้ผู้ซื้อสามารถปฏิบัติการที่จำเป็นตามปกติในการรับมอบสินค้า


การบอกกล่าวแก่ผู้ขาย

    
กรณีผู้ซื้อเป็นผู้มีสิทธิกำหนดเวลาสำหรับทำการขนสินค้า  และ/หรือเป็นผู้เลือกท่าเรือปลายทาง
ผู้ซื้อต้องบอกกล่าวให้ผู้ขายทราบถึงข้อมูลดังกล่าวในเวลาอันควร


การพิสูจน์การส่งมอบ เอกสารการขนส่ง
หรือข้อความทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ได้เช่นเดียวกัน

    
จัดหาโดยเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายและโดยมิชักช้าซึ่งเอกสารขนส่งสินค้า(
Transport document) ตามปกติสำหรับท่าเรือปลายทางที่กำหนด

      เอกสารดังกล่าว (เช่น
ใบตราส่งชนิดที่สามารถโอนเปลี่ยนมือได้ หรือ
Sea Waybill ชนิดห้ามโอน
หรือเอกสารการขนส่งทางน้ำภายใน)
ต้องระบุสินค้าตามสัญญาลงวันที่ภายในระยะเวลาที่กำหนดสำหรับการส่งสินค้า 
อันทำให้ผู้ซื้อสามารถเรียกร้องสินค้าได้จากผู้ขนส่งที่ท่าเรือปลายทาง
และเว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น 
ทำให้ผู้ซื้อสามารถขายสินค้านั้นต่อไปในขณะที่สินค้าอยู่ในระหว่างการขนส่งโดยการโอนเอกสารให้แก่ผู้ซื้อรายต่อไป
(ใบตราส่งชนิดเปลี่ยนมือได้) หรือโดยการแจ้งแก่ผู้ขนส่ง

      
กรณีที่เอกสารการขนส่งออกเป็นต้นฉบับหลายฉบับต้องส่งให้แก่ผู้ซื้อทุกฉบับ

      กรณีที่ตกลงสื่อสารกันโดยผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์
เอกสารที่กล่าวถึงในวรรคก่อน อาจใช้ข้อความทาง
Electronic Data Interchange (EDI) แทน


การพิสูจน์การรับมอบเอกสารการขนส่ง
หรือข้อความทางอิเล็กทรอนิกส์ใช้ได้เช่นเดียวกัน

 รับหลักฐานการขนส่งตามที่ระบุไว้ในข้อ ข้อ ก.๘
 หากเอกสารนั้นถูกต้องตรงตามที่กำหนดไว้ในสัญญา

๙.
การตรวจ การหีบห่อ และทำเครื่องหมาย

   
รับภาระค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบซึ่งจำเป็นเพื่อส่งมอบสินค้าตาม ข้อ ก.๔

    
จัดหาโดยเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายซึ่งการหีบห่อที่จำเป็นสำหรับการส่งสินค้าประเภทนั้น
ตามข้อมูลที่ผู้ขายได้รับแจ้งก่อนทำสัญญา
เว้นแต่ตามปกติทางการค้าสำหรับสินค้าประเภทที่ไม่ต้องบรรจุหีบห่อและทำเครื่องหมายหีบห่อไว้อย่างเหมาะสม


การตรวจสินค้า การหีบห่อ และทำเครื่องหมาย

รับภาระค่าใช้จ่ายในการตรวจสินค้าก่อนบรรจุลงเรือ
ยกเว้นกรณีที่ทางราชการของประเทศผู้ส่งออกบังคับให้มีการตรวจ

๑๐
หน้าที่อื่น

      ช่วยเหลือผู้ซื้อเมื่อผู้ซื้อร้องขอ 
โดยผู้ซื้อเป็นผู้เสี่ยงภัยและเสียค่าใช้จ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งเอกสาร
หรือข้อความทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ได้อย่างเดียวกัน(ก.๘) ที่ออกหรือส่งในประเทศที่ทำการส่งมอบ
และ/หรือในประเทศถิ่นกำเนิดสินค้า ซึ่งผู้ซื้อต้องการเพื่อการส่งออก
และ/หรือนำเข้า และหากจำเป็นให้สินค้านั้น

ส่งผ่านประเทศต่างๆ
ด้วย

    จัดหาตามที่ผู้ซื้อร้องขอซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับการทำประกันภัยสินค้า

๑๐
หน้าที่อื่นๆ

     
รับภาระในค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมเพื่อให้ได้มาซึ่งเอกสาร
หรือข้อความทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ได้อย่างเดียวกันที่ได้กล่าวไว้ในข้อ ก.๑๐
และชำระคืนแก่ผู้ขายสำหรับค่าใช้จ่าย
และค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นจากการช่วยเหลือดังกล่าว

 

 

ธงคำตอบ ข้อ ๓
การซื้อขายในเงื่อนไข
CFR
ของ Incoterms 2000 ของ ICC หมายถึงว่า เป็นการซื้อขายที่ราคาสินค้ารวมถึงค่าขนส่งและค่าใช้จ่ายๆจนกระทั่งสินค้าไปถึงท่าเรือปลายทาง
โดยผู้ขายมีหน้าที่ติดต่อว่าจ้างผู้ขนส่งให้ขนส่งสินค้าไปจนถึงท่าเรือปลายทาง
และเป็นผู้ชำระค่าระวาง
และถือว่าผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าแล้วเมื่อได้มีการนำสินค้าบรรทุกลงเรือสินค้าที่ท่าเรือต้นทาง
ความเสี่ยงภัยในการสูญหายหรือเสียหายของสินค้าโอนหรือตกแก่ผู้ซื้อเมื่อสินค้าข้ามพ้นกราบเรือที่ท่าเรือต้นทาง
กรณีตามปัญหาเป็นการซื้อขายสินค้าในเงื่อนไข
CFR ของ Incoterms
2000 ของ ICC เมื่อปรากฏว่าสินค้าได้รับความเสียหายเนื่องจากน้ำทะเลเข้าไปในระวางเรือแสดงว่าความเสียหายของสินค้าเกิดขึ้นหลังจากที่ได้มีการนำสินค้าบรรทุกลงเรือแล้ว
ความเสี่ยงภัยในการสูญหายหรือเสียหายของสินค้าตกอยู่แก่ผู้ซื้อแล้ว 
ความเสียหายของสินค้าที่เกิดขึ้นภายหลังนั้นจึงต้องตกเป็นพับแก่บริษัทสบาย
จำกัด และถือว่าบริษัทเฉินเปเปอร์ จำกัด ผู้ขายได้ปฏิบัติหน้าที่ในการส่งมอบสินค้าครบถ้วนแล้ว
จึงมีสิทธิเรียกให้บริษัทสบาย จำกัด ชำระค่าสินค้าได้
โดยบริษัทสบายไม่อาจอ้างว่าความเสียหายเกิดขึ้นเนื่องจากผู้ขนส่งที่ผู้ขายเป็นผู้ว่าจ้างเป็นผู้ทำให้สินค้าเสียหาย
ตามเงื่อนไขของ
CFR ดังกล่าวข้างต้น

ธงคำตอบข้อ
 ใบตราส่งสินค้าทางทะเล  เป็นเอกสารแสดงสิทธิในสินค้า 
และเป็นหลักฐานสัญญาของบริษัทเรือที่จะขนส่งสินค้าทางเรือ  ของประเทศส่งออกไปยังท่าเรือปลายทาง

CLEAN  B/L คือใบตราส่งสินค้าที่บริษัทเรือไม่ได้บันทึกแจ้งข้อบกพร่องของสินสินค้า /  หรือ การบรรจุหีบห่อ

NON-NEGOTIABLE 
OR STRAIGHT  B/L    เป็นใบตราส่งสินค้าที่ยินยอมให้มีการส่งมอบให้แก่ผู้รับสินค้า
( CONSIGNER )ที่ระบุไว้เท่านั้น  จะโอนให้ผู้อื่นมารับไม่ได้

ORDER  B/L ใบตราส่งสินค้าที่ออก 
โดยมีการส่งมอบสินค้าตามคำสั่ง 
(
ORDER ) ปกติตามคำสั่งของผู้ส่งสินค้าหรืออาจเป็นลอย 
ซึ่งต้องมีการสลักหลังโดยผู้ส่งสินค้าเพื่อเป็นการโอนสิทธิ์ในสินค้าให้กับผู้ทรง 
( HOLDER )   หรือผู้ที่ได้รับการโอนสิทธิ์ให้ 
โดยเจาะจงการสลักหลังใบตราส่งสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น

ORDER 
NOTIFY” B/L    เหมือนกับใบตราส่งสินค้าชนิด   “ ORDER”    เพียงแต่เพิ่มข้อความในใบตราส่งสินค้า  ว่าเมื่อสินค้าถึงเมืองท่าปลายทางแล้ว  ตัวแทนบริษัทเรือที่มีเมืองท่าปลายทาง  จะแจ้งให้กับผู้รับสินค้าทราบการแจ้งนี้ไม่ถือเป็นการโอนกรรมสิทธิ์
ในสินค้านั้นให้กับผู้รับแจ้ง 
เพียงเป็นเรื่องแจ้งให้ทราบว่าสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น

เป็นตราสารแสดงสิทธิ์ของผู้ทรงและเปลี่ยนมือได้  (NEGOTIABLE INSTRUMANT) คือเป็นเอกสารแสดงสิทธิในสินค้าและโอนสิทธิต่อ
ๆ กันได้
BILL OF LADING นี้ยังแบ่งออกเป็น

“THROUGH” BILL OF LANDING เป็นใบตราส่งออกในกรณีที่การขนส่งทั้งทางบกและทางทะเล
ซึ่งระบุการขนส่งไว้ตลอดทาง ปกติผู้รับขนส่งคนแรกจะเป็นผู้ออกใบตราส่งชนิดนี้

“RECEIVED FOR SHIPMENT” BILL OF LANDING   เป็นใบตราส่งสินค้าชนิดที่มีลักษณะเป็นเพียงสัญญาแสดงว่าได้รับการสินค้าไว้เพื่อจะทำการขนส่ง  
แต่ยังไม่เป็นที่แน่นอนว่าสินค้าได้ขึ้นเรือลำที่ระบุไว้เป็นการเรียบร้อยแล้ว

 “SHIPPED ON
BOARD” BILL OF LADING    เป็นใบตราส่งซึ่งแสนดงว่าสินค้าได้ขึ้นเรือระวางเรือเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

“CHARTER PARTY” BILL OF LADING   เป็นใบตราส่งที่ผู้รับขนได้เช่าเรือของผู้อื่นมารับทำการขนส่งสินค้าซึ่งระบุเงื่อนไขให้สัญญาขนส่งติดแยกจากใบตราส่งชนิดอื่น

โพสท์ใน ประกาศการเรียนการสอน | ใส่ความเห็น

ธงคำตอบวิชาการค้าระหว่างประเทศ นบ๔๓๐๕

ธงคำตอบข้อสอบปลายภาค

 

วิชา
กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (นบ.๔๓๐๕) กลุ่ม ๑ (๓ หน่วยกิต)              ภาค ฤดูร้อน  ปีการศึกษา ๒๕๕๒ 

ผู้ออกข้อสอบ      อาจารย์โกญจนาท  เจริญสุข

 

ธงคำตอบ ข้อ ๑.  อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ
ค.ศ.
1980 มีหลักการที่สำคัญประการหนึ่งคือต้องการให้สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศเกิดขึ้นโดยง่าย
แต่เลิกกันโดยยาก เพื่อเป็นการลดต้นทุนทางการค้าระหว่างประเทศ
อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดความคล่องตัวในการทำสัญญาซื้อขายระหว่างกันด้วย

คำว่า “The Battle of Forms” หรือสงครามแบบฟอร์มนั้นเกิดขึ้นจากสภาพของการค้าระหว่างประเทศที่มีการแสดงเจตนาเสนอ
– สนองผ่านแบบฟอร์มมาตรฐานของคู่สัญญาแต่ละฝ่าย
หากกฎหมายยังคงยึดหลักที่ว่าสัญญาจะเกิดต่อเมื่อมีคำเสนอ – สนองถูกต้องตรงกัน (
Mirror
Image Rule) แล้ว
สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศจะเกิดขึ้นได้ยากมากเพราะแบบฟอร์มมาตรฐานเหล่านั้นยากที่จะมีข้อความตรงกัน
CISG Article 19 จึงได้บัญญัติแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยกำหนดให้กรณีคำสนองที่มีข้อแก้ไขเพิ่มเติมจากคำเสนอแต่ไม่ได้เป็นข้อสาระสำคัญนั้น
ให้ถือว่าสัญญาเกิดขึ้นโดยมีข้อความตามที่ปรากฏในคำสอง

ส่วนหลัก “Preservation of Contract” หรือหลักการสงวนรักษาไว้ซึ่งสัญญา
เป็นหลักที่กำหนดให้ในการใช้สิทธิเลิกสัญญาจะต้องเป็นกรณีที่เป็นการผิดสัญญาในสาระสำคัญ
(
Fundamental Breach) เท่านั้น (Article 25) นอกจากนี้คู่สัญญาฝ่ายที่ได้รับความเสียหายจากคู่สัญญาอีกฝ่ายที่ผิดสัญญานั้นจะต้องเปิดโอกาสให้คู่สัญญาฝ่ายที่ผิดสัญญามีการเยียวยาความเสียหายก่อนจึงจะใช้สิทธิเลิกสัญญาได้
(
Article 37, 48) ทั้งนี้ CISG เลือกที่จะเปิดโอกาสให้คู่กรณีฝ่ายที่ผิดสัญญาได้มีโอกาสที่จะชำระหนี้ของตนให้ถูกต้อง
แทนที่จะให้มีการเลิกสัญญาอันจะนำมาซึ่งความเสียเปล่าทางเศรษฐกิจโดยรวม

ธงคำตอบ
ข้อ ๒.
 CIF: Cost, Insurance and Freight (named port
of destination
)     หมายถึง
สัญญาซื้อขายที่มีการกำหนดราคาสินค้า โดยรวมค่าระว่างขนส่งสินค้า
และค่าเบี้ยประกันภัยไว้ด้วย สัญญา
CIF เป็นสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศซึ่งเป็นที่นิยมมากที่สุด
ทั้งนี้เพราะผู้ขายสามารถขอรับชำระค่าสินค้าได้ทันทีเมื่อขนส่งสินค้าลงเรือ
และรวบรวมเอกสารต่างๆ ได้ครบถ้วน
ขณะเดียวกันผู้ซื้อเมื่อได้รับเอกสารจากผู้ขายแล้วก็สามารถที่จะขายสินค้านั้นต่อไปได้โดยทันทีเช่นกัน
โดยไม่ต้องรอให้สินค้ามาถึงผู้ซื้อก่อน

 

ผู้ขาย Term CIF

ผู้ซื้อ Term CIF


การจัดหาสินค้า

จัดหาสินค้าให้ตรงตามที่กำหนดไว้ในสัญญาซื้อขาย
พร้อมใบกำกับสินค้า หรือข้อความอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ได้อย่างเดียวกัน
และหลักฐานแสดงถึงความถูกต้องซึ่งอาจกำหนดไว้ในสัญญา


การชำระราคา

    ชำระราคาตามที่ตกลงไว้ในสัญญา


การจัดหาใบอนุญาต การอนุญาตของทางการ และพิธีการต่างๆ

รับภาระค่าใช้จ่าย
และความเสี่ยงภัยเพื่อให้ได้มาซึ่งใบอนุญาตส่งออก การอนุญาตของทางราชการ
และดำเนินการผ่านพิธีการศุลกากรอันอาจต้องกระทำเพื่อส่งออก

๒.
การจัดหาใบอนุญาต การอนุญาตของทางการ และพิธีการต่างๆ

    รับภาระค่าใช้จ่าย
และความเสี่ยงภัยเพื่อให้ได้มาซึ่งใบอนุญาตนำเข้า หรือการอนุญาตของทางราชการ
และดำเนินการผ่านพิธีการศุลกากรอันอาจต้องกระทำเพื่อนำสินค้าเข้า
และการส่งผ่านประเทศต่างๆ


การทำสัญญารับขน และสัญญาประกันภัย

    
ทำสัญญารับขนสินค้าผ่านเส้นทางปกติไปยังท่าเรือปลายทางตามที่กำหนดด้วยเรือเดินทะเลประเภทที่ตามปกติสำหรับการขนส่งสินค้าประเภทที่ระบุไว้ในสัญญาโดยผู้ขายเป็นผู้เสียค่าใช้จ่าย

     จัดให้มีการประกันภัยสินค้าตามที่ตกลงในสัญญา
ซึ่งผู้ซื้อหรือผู้มีส่วนได้เสียในสินค้านั้นสามารถเรียกร้องได้โดยตรงกับผู้รับประกันภัย
และจัดส่งกรมธรรม์ประกันภัย หรือหลักฐานใบรับรองการประกันภัยแก่ผู้ซื้อ
การประกันภัยต้องทำกับผู้รับประกันหรือบริษัทประกันภัยซึ่งมีชื่อเสียงดี 
มีเงื่อนไขการคุ้มครองขั้นต่ำตามเงื่อนไขของสถาบันผู้รับประกันภัยแห่งลอนดอน
หรือเงื่อนไขใดๆ ในลักษณะเดียวกัน และการประกันนั้นจะต้องคุ้มครองราคาสินค้า
CIF
บวกเพิ่ม ๑๐%
มูลค่าประกันต้องกำหนดเป็นสกุลเดียวกับสัญญา

    เมื่อผู้ซื้อร้องขอ
ผู้ขายต้องจัดหาโดยผู้ซื้อเสียค่าใช้จ่าย
ซึ่งการประกันภัยต่อภัยพิบัติอันเนื่องมาจากสงคราม การประท้วง การจลาจล
การตื่นตระหนกของประชาชน


การทำสัญญารับขน และสัญญาประกันภัย

    ผู้ซื้อไม่มีหน้านี้


การส่งมอบสินค้า

    บรรทุกสินค้าขึ้น ณ
ท่าเรือตามวันหรือภายในระยะเวลาที่กำหนด


การรับมอบสินค้า

   
รับมอบสินค้าเมื่อสินค้าได้ส่งมอบตามที่ระบุไว้ในข้อ ก.๔
และรับสินค้าจากผู้ขนส่ง ณ ท่าเรือปลายทางที่กำหนด

๕.
การโอนความเสี่ยงภาย

          ภายใต้บังคับ ข.๕
รับภาระความเสี่ยงภัยในความสูญหายหรือเสียหายของสินค้าจนกระทั่งสินค้าทั้งหมดนั้นผ่านกราบเรือ
(
Ship’s rail) ณ ท่าเรือที่กำหนด

๕.
การโอนความเสี่ยงภัย

      รับความเสี่ยงภัยในความสูญหาย
หรือเสียหายของสินค้าเมื่อสินค้านั้นได้ผ่านพ้นกราบเรือ  ณ ท่าเรือที่กำหนด หรือ

       นับตั้งแต่วันที่กำหนด  หรือ
วันสิ้นสุดแห่งระยะเวลาที่ตกลงสำหรับการส่งมอบสินค้า
อันเกิดขึ้นเนื่องจากการที่ผู้ซื้อไม่ได้ให้คำบอกกล่าวตามข้อ ข.๗
โดยมีข้อแม้ว่าสินค้านั้นได้มีการกำหนดลงไว้แน่นอนให้เป็นสินค้าตามสัญญา


การรับภาระในค่าใช้จ่าย

    ภายใต้บังคับข้อ ข.๖

    
รับภาระในค่าใช้จ่ายทั้งหมดเกี่ยวกับสินค้าจนกระทั่งส่งมอบสินค้านั้นตามข้อ
ก.๔ และ

      รับภาระค่าระวาง
และค่าใช้จ่ายอันเกิดจากข้อ ก.๓
ในการทำสัญญารับขนรวมถึงค่าใช้จ่ายในการบรรทุกสินค้าลงเรือ และ

      รับภาระในค่าประกันภัยอันเกิดขึ้นจากของ
ก. ๓ และ

      
ค่าใช้จ่ายเพื่อการขนถ่ายสินค้าลงจากเรือ ณ ท่าเรือปลายทาง
ซึ่งกำหนดไว้ให้ผู้ขายตามสัญญารับขน และ

      
รับภาระใช้จ่ายอันอาจถูกเรียกเก็บที่จำเป็นสำหรับพิธีการทางศุลกากรเพื่อส่งออก  รวมทั้งภาษี 
อากร และค่าธรรมเนียมทั้งปวง เพื่อการส่งออก 
และรวมถึงการส่งสินค้าผ่านประเทศอื่นหากกำหนดไว้ให้เป็นผู้ขายตามสัญญารับขน


การรับภาระในค่าใช้จ่าย

    ภายใต้บังคับข้อ ก.๓

   
รับภาระในค่าใช้จ่ายทั้งหมดเกี่ยวกับสินค้านับแต่สินค้านั้นได้ถูกส่งมอบตามที่ระบุไว้ในข้อ
ก.๔ และ

     รับภาระในค่าใช้จ่าย
และค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับสินค้าขณะอยู่ในระหว่างการขนส่งจนกระทั่งถึงท่าเรือปลายทาง
เว้นแต่ค่าใช้จ่าย และค่าธรรมเนียมนั้นได้กำหนดไว้เป็นของผู้ขายตามสัญญารับขน
และ

      
รับภาระค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าขึ้นจากเรือ  รวมถึงค่าเรือลำเลียง ค่าธรรมเนียมท่าเรือ
เว้นแต่ว่าค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมนั้นจะรวมไว้ในบัญชีผู้ขายตามสัญญารับขน และ

       
รับภาระในค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นหากผู้ซื้อไม่ได้บอกกล่าวผู้ขายตามที่ระบุไว้ในข้อ
ข.๗
อันเกิดแก่สินค้านับตั้งแต่วันที่ตกลงหรือวันสิ้นสุดสำหรับระยะเวลาเพื่อการส่งสินค้าโดยมีข้อแม้ว่าสินค้านั้นได้มีการกำหนดไว้แน่นอนให้เป็นสินค้าตามสัญญา

        รับภาระในค่าภาษี  อากร 
และค่าธรรมเนียมทั้งปวง 
รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการผ่านพิธีศุลกากร อันอาจถูกเรียกเก็บเพื่อการนำเข้า  
และหากจำเป็นรวมถึงการส่งสินค้าผ่านประเทศอื่น  เว้นแต่จะได้รวมอยู่ในระวางเรือตามสัญญารับขน


การบอกกล่าวแก่ผู้ซื้อ

   
บอกกล่าวให้ผู้ซื้อในเวลาอันควรว่าสินค้าได้ส่งมอบตามข้อ ก.๔ แล้ว
และบอกกล่าวเรื่องอื่นๆ ที่จำเป็นเพื่อให้ผู้ซื้อสามารถปฏิบัติการที่จำเป็นตามปกติในการรับมอบสินค้า


การบอกกล่าวแก่ผู้ขาย

    
กรณีผู้ซื้อเป็นผู้มีสิทธิกำหนดเวลาสำหรับทำการขนสินค้า  และ/หรือเป็นผู้เลือกท่าเรือปลายทาง
ผู้ซื้อต้องบอกกล่าวให้ผู้ขายทราบถึงข้อมูลดังกล่าวในเวลาอันควร


การพิสูจน์การส่งมอบ เอกสารการขนส่ง
หรือข้อความทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ได้เช่นเดียวกัน

    
จัดหาโดยเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายและโดยมิชักช้าซึ่งเอกสารขนส่งสินค้า(
Transport document) ตามปกติสำหรับท่าเรือปลายทางที่กำหนด

      เอกสารดังกล่าว (เช่น
ใบตราส่งชนิดที่สามารถโอนเปลี่ยนมือได้ หรือ
Sea Waybill ชนิดห้ามโอน
หรือเอกสารการขนส่งทางน้ำภายใน)
ต้องระบุสินค้าตามสัญญาลงวันที่ภายในระยะเวลาที่กำหนดสำหรับการส่งสินค้า 
อันทำให้ผู้ซื้อสามารถเรียกร้องสินค้าได้จากผู้ขนส่งที่ท่าเรือปลายทาง
และเว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอื่น 
ทำให้ผู้ซื้อสามารถขายสินค้านั้นต่อไปในขณะที่สินค้าอยู่ในระหว่างการขนส่งโดยการโอนเอกสารให้แก่ผู้ซื้อรายต่อไป
(ใบตราส่งชนิดเปลี่ยนมือได้) หรือโดยการแจ้งแก่ผู้ขนส่ง

      
กรณีที่เอกสารการขนส่งออกเป็นต้นฉบับหลายฉบับต้องส่งให้แก่ผู้ซื้อทุกฉบับ

      กรณีที่ตกลงสื่อสารกันโดยผ่านทางอิเล็กทรอนิกส์
เอกสารที่กล่าวถึงในวรรคก่อน อาจใช้ข้อความทาง
Electronic Data Interchange (EDI) แทน


การพิสูจน์การรับมอบเอกสารการขนส่ง
หรือข้อความทางอิเล็กทรอนิกส์ใช้ได้เช่นเดียวกัน

 รับหลักฐานการขนส่งตามที่ระบุไว้ในข้อ ข้อ ก.๘
 หากเอกสารนั้นถูกต้องตรงตามที่กำหนดไว้ในสัญญา

๙.
การตรวจ การหีบห่อ และทำเครื่องหมาย

   
รับภาระค่าใช้จ่ายในการตรวจสอบซึ่งจำเป็นเพื่อส่งมอบสินค้าตาม ข้อ ก.๔

    
จัดหาโดยเป็นผู้เสียค่าใช้จ่ายซึ่งการหีบห่อที่จำเป็นสำหรับการส่งสินค้าประเภทนั้น
ตามข้อมูลที่ผู้ขายได้รับแจ้งก่อนทำสัญญา
เว้นแต่ตามปกติทางการค้าสำหรับสินค้าประเภทที่ไม่ต้องบรรจุหีบห่อและทำเครื่องหมายหีบห่อไว้อย่างเหมาะสม


การตรวจสินค้า การหีบห่อ และทำเครื่องหมาย

รับภาระค่าใช้จ่ายในการตรวจสินค้าก่อนบรรจุลงเรือ
ยกเว้นกรณีที่ทางราชการของประเทศผู้ส่งออกบังคับให้มีการตรวจ

๑๐
หน้าที่อื่น

      ช่วยเหลือผู้ซื้อเมื่อผู้ซื้อร้องขอ 
โดยผู้ซื้อเป็นผู้เสี่ยงภัยและเสียค่าใช้จ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งเอกสาร
หรือข้อความทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ได้อย่างเดียวกัน(ก.๘) ที่ออกหรือส่งในประเทศที่ทำการส่งมอบ
และ/หรือในประเทศถิ่นกำเนิดสินค้า ซึ่งผู้ซื้อต้องการเพื่อการส่งออก
และ/หรือนำเข้า และหากจำเป็นให้สินค้านั้น

ส่งผ่านประเทศต่างๆ
ด้วย

    จัดหาตามที่ผู้ซื้อร้องขอซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับการทำประกันภัยสินค้า

๑๐
หน้าที่อื่นๆ

     
รับภาระในค่าใช้จ่ายและค่าธรรมเนียมเพื่อให้ได้มาซึ่งเอกสาร
หรือข้อความทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ได้อย่างเดียวกันที่ได้กล่าวไว้ในข้อ ก.๑๐
และชำระคืนแก่ผู้ขายสำหรับค่าใช้จ่าย
และค่าธรรมเนียมที่เกิดขึ้นจากการช่วยเหลือดังกล่าว

 

 

ธงคำตอบ ข้อ ๓
การซื้อขายในเงื่อนไข
CFR
ของ Incoterms 2000 ของ ICC หมายถึงว่า เป็นการซื้อขายที่ราคาสินค้ารวมถึงค่าขนส่งและค่าใช้จ่ายๆจนกระทั่งสินค้าไปถึงท่าเรือปลายทาง
โดยผู้ขายมีหน้าที่ติดต่อว่าจ้างผู้ขนส่งให้ขนส่งสินค้าไปจนถึงท่าเรือปลายทาง
และเป็นผู้ชำระค่าระวาง
และถือว่าผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าแล้วเมื่อได้มีการนำสินค้าบรรทุกลงเรือสินค้าที่ท่าเรือต้นทาง
ความเสี่ยงภัยในการสูญหายหรือเสียหายของสินค้าโอนหรือตกแก่ผู้ซื้อเมื่อสินค้าข้ามพ้นกราบเรือที่ท่าเรือต้นทาง
กรณีตามปัญหาเป็นการซื้อขายสินค้าในเงื่อนไข
CFR ของ Incoterms
2000 ของ ICC เมื่อปรากฏว่าสินค้าได้รับความเสียหายเนื่องจากน้ำทะเลเข้าไปในระวางเรือแสดงว่าความเสียหายของสินค้าเกิดขึ้นหลังจากที่ได้มีการนำสินค้าบรรทุกลงเรือแล้ว
ความเสี่ยงภัยในการสูญหายหรือเสียหายของสินค้าตกอยู่แก่ผู้ซื้อแล้ว 
ความเสียหายของสินค้าที่เกิดขึ้นภายหลังนั้นจึงต้องตกเป็นพับแก่บริษัทสบาย
จำกัด และถือว่าบริษัทเฉินเปเปอร์ จำกัด ผู้ขายได้ปฏิบัติหน้าที่ในการส่งมอบสินค้าครบถ้วนแล้ว
จึงมีสิทธิเรียกให้บริษัทสบาย จำกัด ชำระค่าสินค้าได้
โดยบริษัทสบายไม่อาจอ้างว่าความเสียหายเกิดขึ้นเนื่องจากผู้ขนส่งที่ผู้ขายเป็นผู้ว่าจ้างเป็นผู้ทำให้สินค้าเสียหาย
ตามเงื่อนไขของ
CFR ดังกล่าวข้างต้น

ธงคำตอบข้อ
 ใบตราส่งสินค้าทางทะเล  เป็นเอกสารแสดงสิทธิในสินค้า 
และเป็นหลักฐานสัญญาของบริษัทเรือที่จะขนส่งสินค้าทางเรือ  ของประเทศส่งออกไปยังท่าเรือปลายทาง

CLEAN  B/L คือใบตราส่งสินค้าที่บริษัทเรือไม่ได้บันทึกแจ้งข้อบกพร่องของสินสินค้า /  หรือ การบรรจุหีบห่อ

NON-NEGOTIABLE 
OR STRAIGHT  B/L    เป็นใบตราส่งสินค้าที่ยินยอมให้มีการส่งมอบให้แก่ผู้รับสินค้า
( CONSIGNER )ที่ระบุไว้เท่านั้น  จะโอนให้ผู้อื่นมารับไม่ได้

ORDER  B/L ใบตราส่งสินค้าที่ออก 
โดยมีการส่งมอบสินค้าตามคำสั่ง 
(
ORDER ) ปกติตามคำสั่งของผู้ส่งสินค้าหรืออาจเป็นลอย 
ซึ่งต้องมีการสลักหลังโดยผู้ส่งสินค้าเพื่อเป็นการโอนสิทธิ์ในสินค้าให้กับผู้ทรง 
( HOLDER )   หรือผู้ที่ได้รับการโอนสิทธิ์ให้ 
โดยเจาะจงการสลักหลังใบตราส่งสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น

ORDER 
NOTIFY” B/L    เหมือนกับใบตราส่งสินค้าชนิด   “ ORDER”    เพียงแต่เพิ่มข้อความในใบตราส่งสินค้า  ว่าเมื่อสินค้าถึงเมืองท่าปลายทางแล้ว  ตัวแทนบริษัทเรือที่มีเมืองท่าปลายทาง  จะแจ้งให้กับผู้รับสินค้าทราบการแจ้งนี้ไม่ถือเป็นการโอนกรรมสิทธิ์
ในสินค้านั้นให้กับผู้รับแจ้ง 
เพียงเป็นเรื่องแจ้งให้ทราบว่าสินค้ามาถึงแล้วเท่านั้น

เป็นตราสารแสดงสิทธิ์ของผู้ทรงและเปลี่ยนมือได้  (NEGOTIABLE INSTRUMANT) คือเป็นเอกสารแสดงสิทธิในสินค้าและโอนสิทธิต่อ
ๆ กันได้
BILL OF LADING นี้ยังแบ่งออกเป็น

“THROUGH” BILL OF LANDING เป็นใบตราส่งออกในกรณีที่การขนส่งทั้งทางบกและทางทะเล
ซึ่งระบุการขนส่งไว้ตลอดทาง ปกติผู้รับขนส่งคนแรกจะเป็นผู้ออกใบตราส่งชนิดนี้

“RECEIVED FOR SHIPMENT” BILL OF LANDING   เป็นใบตราส่งสินค้าชนิดที่มีลักษณะเป็นเพียงสัญญาแสดงว่าได้รับการสินค้าไว้เพื่อจะทำการขนส่ง  
แต่ยังไม่เป็นที่แน่นอนว่าสินค้าได้ขึ้นเรือลำที่ระบุไว้เป็นการเรียบร้อยแล้ว

 “SHIPPED ON
BOARD” BILL OF LADING    เป็นใบตราส่งซึ่งแสนดงว่าสินค้าได้ขึ้นเรือระวางเรือเป็นที่เรียบร้อยแล้ว

“CHARTER PARTY” BILL OF LADING   เป็นใบตราส่งที่ผู้รับขนได้เช่าเรือของผู้อื่นมารับทำการขนส่งสินค้าซึ่งระบุเงื่อนไขให้สัญญาขนส่งติดแยกจากใบตราส่งชนิดอื่น

โพสท์ใน ประกาศการเรียนการสอน | ใส่ความเห็น

ประชาสัมพันธ์โครงการนิติทัศนศึกษาศิลปวัฒนธรรม และไหว้พระ ๒๕๕๒

โครงการ
นิติทัศนาศิลปวัฒนธรรม และทำบุญไหว้พระ ประจำปีการศึกษา
๒๕๕๒
ไหว้พระ
วัด ที่นครปฐม            

คณะนิติศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกริกได้จัดโครงการ
นิติทัศนาศิลปวัฒนธรรม และทำบุญไหว้พระ ประจำปีการศึกษา
๒๕๕๒ ขอนำท่านสู่จังหวัด นครปฐม ทำบุญไหว้พระ ๙

วัดเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ครอบครัวและตัวท่านตลอดไป           

๑.     
วัดชัยพฤกษ์มาลาพระอารามหลวง
เพื่อทำบุญใส่บาตร ฟังเทศน์ และเจริญสมาธิ

๒.    
วัดดอนหวาย และไป
ตลาดดอนหวาย

๓.    
วัดไร่ขิง  ไหว้พระหลวงพ่อวัดไร่ขิงซึ่งมี
ตำนานอันน่ามหัศจรรย์    

๔.    
วัดพระประโทน  ไหว้พระธาตุเจดีย์ ที่เก่าแก่ของนครปฐม        

๕.    
 พระปฐมเจดีย์  สวยเด่นเป็นสง่า ไหว้พระร่วง
และพระบรมสารีริกธาตุ          

๖.     
 วัดไผ่ล้อม ไหว้
พระหลวงพ่อพูล เกจิอาจารย์ดังแห่งนครปฐม       

๗.    
วัดศรีษะทอง  ไหว้ พระราหู เสริมดวงชะตา ไหว้ของดำ 8 อย่าง 

๘.     
วัดศรีมหาโพธิ์  ไหว้เจ้าแม่กวนอิม  ไหว้พระนอนหลวงพ่อแดงแสงกายสิทธิ์          

๙.     
วัดบางพระ  ไหว้พระหลวงพ่อเปิ่น เกจิอาจารย์ ชื่อดัง           

ค่าใช้จ่ายสำหรับการเดินทางในครั้งนี้  ๕๐ บาท

เดินทาง วัน อาทิตย์ ที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๕๓
เวลา ๖.๐๐
๑๘.๐๐ น 

รับจำนวนจำกัด ๓๐ คน
สามารถลงชื่อในเว็บนี้ หรือ ที่คณะนิติศาสตร์ ก่อนวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๕๓

โพสท์ใน การทำงานเพื่อสังคม | ใส่ความเห็น

ประกาศวิชากฎหมายลักษณะตั๋วเงิน ๒/๒๕๕๒

นักศึกษาที่มีรายชื่อดังต่อไปนี้กรุณาพบอาจารย์โกญจนาท เจริญสุข เป็นการด่วน   (ปรับปรุง)
                             
  1. 511-03-0244   นางสาว   นุชรัตน์  
    สุวรรณชัย               
  2. 511-03-0372   นางสาว   กาญจนา 
    เนียมสันเทียะ       
  3. 511-03-0567   นาย         ปิยวัฒน์  จันทีเทศ             
  4. 511-03-1099   นางสาว   จิราพร 
    ดีศรี           
               
  5. 511-03-1337   นาย         เจษฎา  หมื่นชำนาญ              
  6. 511-03-1361   นาย         โกมล  มณีโนนโพธิ์              
  7. 511-03-1375   นางสาว   รสสุคนธ์ 
    รุ่งอรุณ  
               
  8. 511-03-1386   นางสาว   กมลพรรณ 
    สองสมุทร          
  9. 511-03-1387   นางสาว   ชุติพร 
    นามา                          
  10. 511-03-1392   นาย         นเรนทร์  สีพั่ว                   
  11. 511-03-0112   นางสาว   ปริชาติ 
    ศรีสวัสดิ์    
               
  12. 511-03-0570   นางสาว   สุภาวดี 
    ดวงคำจันทร์             
  13. 511-03-0605   นางสาว   วิลาวัลย์ 
    พลาพัก                    
  14. 511-03-0676   นาย         อภิสิทธิ์  กองทอง               
  15. 511-03-0849   นาย         ถวัลย์  สีคราม                         
  16. 511-03-1365   นาย         กฤษณะ  พงษ์งาม              
  17. 511-03-1369   นางสาว   จันทร์ทิพย์ 
    จูเสม  
               
  18. 511-03-1370   นางสาว   ศิริลักษณ์ 
    สุพรรณกนก         
  19. 511-03-0086   นางสาว   จินตนา 
    เวฬุวนารักษ์             
  20. 511-03-0493   นาย         ฉัตรชัย   เงาไม้                  
  21. 511-03-0557   นาย         สุทธินันท์  ศรีอรรคจันทร์      
  22. 511-03-0581   นางสาว   จุฑารัตน์ 
    อำพวา                    
  23. 511-03-0582   นาย         อรัญ  ยิ้มแย้ม                         
  24. 511-03-0608   นาย         อนุวัฒน์  ทุนแท่ง               
  25. 511-03-0857   นางสาว   จันพิมพ์  
    ปานโรจน์             
  26. 511-03-0868   นางสาว   กมลวรรณ 
    แพทย์หลักฟ้า      
  27. 511-03-1147   นางสาว   สุดารัตน์ 
    ถาวรนุรักษ์             
  28. 511-03-1161   นาย         อรรถชัย  บรรจงการ               
  29. 511-03-1172   นางสาว   ปทิตตา 
    ต่อดำรงค์  
               
  30. 511-03-1355   นาย         เอกสิทธิ  อินทร์งาม               
  31. 511-03-1356   นาย         สุวัฒน์ 
    จุลประเสริฐศักดิ์       
  32. 511-03-1364   นาย         พิชชากานต์  อุ่นเรือน            
  33. 511-03-1373   นาย         พงศกร  วิสุทธาภรณ์              
  34. 511-03-1378   นาย         อรรถพล  หนูจิตร              
  35. 511-03-1382   นางสาว   วราภรณ์ 
    นามาก    
               
  36. 511-03-1396   นาย         วุฒิพงศ์  พูลชนะ               
  37. 511-03-1398   นาย         วงศกร  
    ตันทะระวิสิทธิ์         
โพสท์ใน ประกาศการเรียนการสอน | ใส่ความเห็น

ประกาศนักศึกษาวิชากฎหมายประกันภัย นบ๓๑๐๑

นักศึกวิชากฎหมายลักษณะประกันภัย นบ๓๑๐๑ ต่อไปนี้ พบอาจารย์โกญจนาท เจริญสุข ด่วนๆ
  1. 511-03-0605        นางสาว วิลาวัลย์  พลาพัก                                 
  2. 511-03-0676        นาย        อภิสิทธิ์  กองทอง                               
  3. 511-03-0775        นาย        กฤษดา  การุญ                                     
  4. 511-03-1379        นางสาว พัชรี  กกเปือย                                      
  5. 511-03-0086        นางสาว จินตนา  เวฬุวนารักษ์                         
  6. 511-03-0557        นาย        สุทธินันท์  ศรีอรรคจันทร์ 
  7. 511-03-0567        นาย        ปิยวัฒน์  จันทีเทศ                               
  8. 511-03-0582        นาย        อรัญ  ยิ้มแย้ม                                        
  9. 511-03-0753        นาย        วัชรินทร์  เสือเพชร                            
  10. 511-03-0868        นางสาว กมลวรรณ  แพทย์หลักฟ้า 
  11. 511-03-1099        นางสาว จิราพร  ดีศรี                                         
  12. 511-03-1359        นางสาว พีระพรรณ  แข็งแรง                          
  13. 511-03-1370        นางสาว ศิริลักษณ์  สุพรรณกนก                     
  14. 511-03-1392        นาย        นเรนทร์  สีพั่ว                                     
  15. 491-03-0191        นาย        สถาพร  ไชยชนะ                               
  16. 491-03-0219        นาย        ณัฐวุฒิ  แจ้งจันทร์แรม                       
  17. 511-03-0112        นางสาว ปริชาติ  ศรีสวัสดิ์                
  18. 511-03-0372        นางสาว กาญจนา  เนียมสันเทียะ                    
  19. 511-03-0493        นาย        ฉัตรชัย   เงาไม้                                    
  20. 511-03-0570        นางสาว สุภาวดี  ดวงคำจันทร์                         
  21. 511-03-0581        นางสาว จุฑารัตน์  อำพวา                                
  22. 511-03-0608        นาย        อนุวัฒน์  ทุนแท่ง                               
  23. 511-03-0849        นาย        ถวัลย์  สีคราม                                      
  24. 511-03-0857        นางสาว จันพิมพ์   ปานโรจน์                          
  25. 511-03-1147        นางสาว สุดารัตน์  ถาวรนุรักษ์                        
  26. 511-03-1161        นาย        อรรถชัย  บรรจงการ                          
  27. 511-03-1172        นางสาว ปทิตตา  ต่อดำรงค์                              
  28. 511-03-1355        นาย        เอกสิทธิ  อินทร์งาม                           
  29. 511-03-1356        นาย        สุวัฒน์  จุลประเสริฐศักดิ์                  
  30. 511-03-1364        นาย        พิชชากานต์  อุ่นเรือน                       
  31. 511-03-1378        นาย        อรรถพล  หนูจิตร                               
  32. 511-03-1396        นาย        วุฒิพงศ์  พูลชนะ                                
  33. 511-03-1398        นาย        วงศกร   ตันทะระวิสิทธิ์                    
โพสท์ใน ตารางการทำงาน | ใส่ความเห็น

ประกาศธงคำตอบวิชากฎหมายตั๋วเงิน นบ๓๑๐๒-๒/๒๕๕๒

ข้อ ๑
ปรากฏว่าแดง ดำ เขียว และเหลือง 
ต่างเป็นคู่สัญญาในฐานะผู้สลักหลังตามลำดับในตั๋วแลกเงินฉบับหนึ่งราคา ๑
ล้านบาท โดยมีนายม่วงเป็นผู้สั่งจ่าย แสด เป็นผู้จ่าย และชมพูเป็นผู้ทรง โดยมีนายส้มได้ลงลายมือชื่อเข้ารับอาวัล
การสลักหลังของเขียว เมื่อตั๋วเงินถึงกำหนดจ่ายเงิน
ชมพูนำตั๋วแลกเงินดังกล่าวไปยื่นต่อแสดผู้จ่าย
แสดปฏิเสธการจ่ายเงินตามตั๋วเงินโดยอ้างว่าตนเองมิได้เป็นลูกหนี้ม่วงแต่อย่างใด
หลังจากนั้น ๑ สัปดาห์ ชมพู จึงนำตั๋วแลกเงินนั้นไปขอชำระหนี้จากนายส้ม  นายส้มปฏิเสธการจ่ายเงิน  ดังนี้ ให้วินิจฉัยว่า  ชมพูมีสิทธิไล่เบี้ยส้มได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
ขณะเดียวกันส้มจะมีสิทธิการชำระหนี้เงินตามตั๋วเงินนั้นต่อนายชมพูได้หรือไม่
เพราะเหตุใด
( ๓๕ คะแนน )

ธงคำตอบ
ข้อ ๑
 
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์  มาตรา
๙๒๔ , มาตรา ๙๔๐ วรรค ๑ และ วรรค ๒ มาตรา ๙๖๐ มาตรา ๙๗๓ (๒)
และ วรรค๒

กรณีตามปัญหา
ชมพูไม่มีสิทธิบังคับไล่เบี้ยส้ม 
เพราะชมพูไม่ได้ทำคำคัดค้านตั๋วแลกเงินภายในวันที่แสดปฏิเสธการจ่ายเงิน
หรือภายใน ๓ วัน ต่อจากนั้น ตามมาตรา ๙๑๔ และ ๙๖๐ 
จนเป็นเหตุให้กำหนดเวลาคัดค้านการไม่ใช้เงิน
อันเป็นผลให้ชมพูสิ้นสิทธิที่จะไล่เบี้ยเอาแก่บรรดาผู้สลักหลัง ผู้สั่งจ่าย
และคู่สัญญาอื่น ในที่นี้คือผู้อาวัล เว้นแต่ผู้รับรอง ตามมาตรา ๙๗๓(๒) และวรรค ๒

ขณะเดียวกันส้มผู้รับอาวัลก็ชอบที่จะใช้สิทธิปฏิเสธการชำระเงินตามตั๋วเงินนั้นต่อชมพูได้เพราะการที่ชมพูมิได้ทำคำคัดค้านขณะเมื่อตั๋วแลกเงินนั้นขาดความเชื่อถือเพราะไม่มีการใช้เงินนั้นถือเป็นการกระทำที่ผิดแบบระเบียบ
ตามมาตรา ๙๔๐ วรรค๒ และ๒

ข้อ ๒
นายสั่งออกเช็คสั่งให้ธนาคารสินสยามใช้เงินแก่นายรับ เช็คฉบับนี้มีธนาคารกรุงธนฯเข้ารับอาวัล
แต่มิได้ระบุว่าอาวัลให้แก่ผู้ใด 
นายรับสลักหลัก และส่งมอบเช็คให้แก่นายหนึ่ง  นายหนึ่งนำเช็คยื่นให้ธนาคารสินสยามรับรองการใช้เงิน
และธนาคารสินสยามได้ทำการรับรองเช็คดังกล่าวถูกต้องเรียบร้อยแล้ว
ต่อมาเมื่อนายหนึ่งนำเช็คยื่นให้ธนาคารสินสยามใช้เงิน
ธนาคารสินสยามกลับปฏิเสธการใช้เงินด้วยเหตุเพราะไม่มีเงินเพียงพอจ่ายในบัญชีของนายสั่ง
ดังนี้ ให้วินิจฉัยว่า นายสั่ง นายรับ ธนาคารกรุงธนฯ และธนาคารสินสยามจะต้องรับผิดตามเช็คนี้ต่อนายหนึ่งหรือไม่
เพราะเหตุใด
( ๓๕ คะแนน )

ธงคำตอบ
ข้อ ๒

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๓๙ , ๙๔๐ , ๙๙๓

เช็คฉบับนี้เป็นเช็คระบุชื่อผู้รับเงิน
ธนาคารกรุงธนฯ เข้ารับอาวัลโดยมิได้ระบุว่าอาวัลผู้ใด
จึงถือว่าอาวัลให้แก่ผู้สั่งจ่าย  ตามมาตรา
๙๓๙ วรรค๔ นายหนึ่งผู้ทรงเช็คนำยื่นเช็คให้ธนาคารสินสยามรับรอง
และธนาคารสินสยามรับรองให้ ผู้ซึ่งเป็นไปตามมาตรา ๙๙๓ วรรคแรก และวรรคสอง คือ
ธนาคารสินสยามตกเป็นลูกหนี้ชั้นต้นต้องรับผิดใช้เงินต่อผู้ทรงไม่ว่าจะมีเหตุการณ์อย่างใดเกิดขึ้นส่วนนายสั่งและนายรับหลุดพ้นจากความรับผิดตามเช็ค

ส่วนธนาคารกรุงธนฯ
แม้ว่าผู้รับอาวัลคือนายสั่งจะหลุดพ้นจากความรับผิดตามเช็คไป
แต่สัญญาอาวัลยังคงสมบูรณ์ ธนาคารกรุงธนฯ ไม่หลุดพ้น ตามมาตรา ๙๔๐ วรรคสอง

สรุป นายสั่ง
และนายรับหลุดพ้นไม่ต้องรับผิด

       
ธนาคารกรุงธนฯต้องรับผิด

       
ธนาคารสินสยาม ต้องรับผิดในฐานะผู้รับรองอันเป็นลูกหนี้ชั้นต้น

ข้อ ๓
นายมีได้รับเช็คธนาคารสินไทยจากนายม้วยซึ่งเป็นผู้ลงลายมือชื่อล่วงหน้าเป็นเงินจำนวน
๑๒๐,๐๐๐ บาท ต่อมานายม้วยถึงแก่ความตาย
และธนาคารสินไทยก็ได้รับแจ้งจากผู้จัดการมรดกของนายม้วยแล้ว ดังนี้
หากต่อมาเช็คนั้นถึงกำหนดใช้เงิน
ให้ท่านวินิจฉัยว่านายมียังมีภาระหน้าที่ในการที่จะต้องนำเช็คนั้นไปยื่นให้ธนาคารสินไทยจ่ายเงินก่อนหรือไม่
และธนาคารสินไทยจะปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คนั้นได้หรือไม่
ทางออกของนายมีควรดำเนินการอย่างไรจึงจะได้เงินตามเช็คนั้น
ให้ท่านวินิจฉัยโดยอิงหลักกฎหมาย
( ๓๐ คะแนน )

ธงคำตอบ
ข้อ ๓
ประมวลกฎหมายแพ่ง มาตรา ๙๕๙ , มาตรา ๙๘๙ วรรค
  , มาตรา ๙๙๐ วรรค ๑ , มาตรา ๙๙๒ (๒)

โดยที่เช็คเป็นตั๋วเงินที่ผู้ทรงสามารถนำไปเรียกเก็บเงินจากธนาคารผู้ได้นับแต่วันเดือนปีที่ออกเช็ค(วันเดือนปีที่ลงในเช็ค)
เป็นต้นไป ตามมาตรา ๙๕๙ และ ๙๘๙ วรรค ๑ และ
ปกติต้องยื่นให้ธนาคารผู้จ่ายเงินใช้เงินภายในระยะเวลา ๑ เดือน หรือ ๓ เดือน
นับแต่วันที่ออกเช็ค ตาม มาตรา ๙๙๐ วรรค๑

แต่ในกรณีที่บุคคลธรรมดาผู้สั่งจ่ายเช็คในนามของตนเองแล้วต่อมาถึงแก่ความตายและธนาคารผู้จ่ายได้รู้เช่นนั้นแล้ว
ธนาคารย่อมสิ้นอำนาจหน้าที่ในการจ่ายเงินตามเช็คนั้น ตามมาตรา ๙๙๒(๒)
ดังนี้ภาระหน้าที่ของนายมีในการที่จะต้องนำเช็คไปยื่นให้ธนาคารสินไทยจ่ายเงินตามมาตรา
๙๕๙ ประกอบมาตรา ๙๘๙ วรรค๑ และ มาตรา ๙๙๐ วรรค๑ ก็ย่อมสิ้นสุดลงด้วยเช่นเดียวกัน
เพราะธนาคารสินไทยสิ้นอำนาจหน้าที่ในการจ่ายเงินก่อนแล้ว

ดังนี้หากเป็นข้าพเจ้าจะให้คำแนะนำแก่นายมีเรียกร้องเงินตามเช็คจำนวน
๑๒๐,๐๐๐บาท จากกองมรดกของนายม้วย ต่อไป

 

โพสท์ใน ประกาศการเรียนการสอน | ใส่ความเห็น

ประกาศวิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป เทอม๒-๕๒

นักศึกษาที่มีรายชื่อดังต่อไปนี้กรุณาติดต่อพบอาจารย์โกญจนาท เจริญสุข เป็นด่วน ในวันที่ ๓-๕ มีนาคม ๒๕๕๓ เท่านั้น

นักศึกษายังไม่ได้ส่งรายงาน

1.      
491-05-0358                นาย        ธเณศ 
แสงแก้ว

2.      
521-00-0783                นางสาว น้ำเพชร เฉลยกลิ่น

3.      
521-00-0965                นางสาว ชรินทร 
กลิ่นอ่อน

4.      
521-00-1014                นาย        จีรพงศ์    เอี่ยมหน่อ

5.      
521-00-1132                นาย        ภาคิน วงค์สูง

6.      
521-00-1178                นางสาว สุภาพร สุทาเนตร

7.      
521-00-1244                นางสาว วิชชุดา 
สุริยะ

8.      
521-00-1245                นางสาว กมลกาญจน์ 
ก้อสละ

นักศึกษาที่กรุณามาพบอาจารย์โกญจนาท
เจริญสุข เป็นการด่วน วันที่ ๓  -๕ มีนาคม
๒๕๕๓ นี้เท่านั้น

1.      
521-00-0160                นาย        สถาพร  เทพสุริย์

2.      
521-00-0492                นางสาว พัชรินทร์  รื่นรส

3.      
521-00-0737                นางสาว สุวรรณี  ตรีหิรัญ

4.      
521-00-0979                นางสาว วริษา  เมืองสวาย

5.      
521-00-0980                นางสาว นารี  เพ็ชร์เหมือน

6.      
521-00-1016                นางสาว ณัฐฐา     มะลิขาว

7.      
521-00-1126                นางสาว นุชจลี    โยศรีคุณ

8.      
521-00-1187                นางสาว จุฑาภักต์  ห้อยมาลัย

9.      
521-00-1191                นางสาว สุภาพร
ธิโกสุม

10.   
521-00-1226                นางสาว สุจิตรา  พรมเขียว

11.   
521-00-1261                นางสาว ละออ   ชัยชนะ

12.   
521-00-1028                นางสาว ศศิธร  ขัดษุ

13.   
521-00-1181                นางสาว ยุพาวรรณ  บัวบุญ

14.   
521-00-1257                นางสาว สุพัฒชญา   พานทอง

โพสท์ใน ประกาศการเรียนการสอน | ใส่ความเห็น